ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
ศีล 5 คืออะไร มารักษาศีล 5 กันเถอะ
ศีล 5 คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำไมต้องรักษาศีล5 เราเข้าใจเรื่องศีล 5 มากน้อยแค่ไหน มาหาคำตอบเกี่ยวกับศีลห้ากันได้ที่นี่ค่ะ พร้อมภาพประกอบศีล 5 สวยๆ ...
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ Five Precept ศีล 5
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่อง Five Precept = ศีล 5 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟังจะมีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ได้พรจากหลวงปู่ 3 ข้อ
คุณวรวรรณ ถนอมพงษ์ เล่าประสบการณ์ที่เธอได้พรจากหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 3 ข้อ จนผ่านพ้นช่วงตกต่ำที่สุดในชีวิตมาได้
ศีล 5 การสมาทานและรับศีล 5 อานิสงส์ของศีล
ศีล 5 การสมาทานศีล วิธีการสมาทานศีล 5 มี 3 แบบ คือ แบบสัมปัตตวิรัติ แบบสมาทานวิรัติ และแบบสมุจเฉทวิรัติ วิธีการรับศีลที่ถูกต้อง
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ 8 Precepts ศีล 8
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่องของ 8 Precepts = ศีล 8 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟัง จะมีวิธีการอธิบายอย่างไร เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ภิกษุณีกับแม่ชีมีความแตกต่างกันอย่างไร
ภิกษุณีมีศีล ๓๑๑ ข้อ แต่ชีมีศีล ๘ ข้อ แม่ชีกับภิกษุณี เป็นคนละประเภทกัน ภิกษุณีนั้นหมดไปนานแล้ว ส่วนแม่ชีนั้นเทียบได้แค่อุบาสิกาเท่านั้นเอง เพราะถือศีล ๘ ยกขึ้นเทียบกับภิกษุณีไม่ได้เลย
อย่าไปยึดมั่นถือมั่น
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าพระพุทธจ้าสอนว่าคนเราไม่ควรยึดมั่นถือมั่นแล้วทำไมพระสงฆ์ท่านจึงมีข้อปฏิบัติเยอะจังครับ
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)